วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2553
การทำภาพเบลอ<โอม>
การทำภาพเบลอ
1. เลือกภาพที่ต้องการเบลอ
2. จากนั้นกด Ctrl+J เพื่อก๊อป Layer
3. จากนั้นไปที่ Fiter>Blur>Gaussian Blur
4. จากนั้นกดที่ Add Vector Mask แล้วจะมี Layer ซ้อนขึ้นมา
5. จากนั้นใช้เครื่องมือ Brush Tool
6. ทำการสลับสีโดยกด X ให้สีดำอยู่ด้านบน
7. แล้วก็ทำการ Brush ตรงที่เราไม่ต้องการเบลอ
การทำกรอบรูป
1. นำรูปที่เราต้องการตกแต่งมา <สร้างLayer>ทุกครั้ง
2. ดับเบิ้ลคลิกที่ ไฟล์ Layer-Background เพื่อตั้งเปิด Layer0
3. ใช้เครื่องมือ Magic Wand Tool คลิกไปที่พื้นที่ว่างเพื่อตัดรูป
4. เปิดรูปเพื่อแต่งภาพใช้ Horizontal Type Tool เพื่อที่จะพิมพ์ข้อความ
5. ใช้เครื่องมือ Brush Tool ตกแต่งภาพอีกครั้งหนึ่ง
6. บันทึกภาพโดยใช้ PSB เพื่อแก้ไขงานอีกครั้งและใช้ Jpec เพื่อ Save งานจร้า
การตัดภาพ<ปู>
วันอังคารที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553
ความคิดสร้างสรรค์คือ
ถ้าคิดแง่บวก ความคิดสร้างสรรค์ก็คือ การพูดโดยไม่มีนัยที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่าง หรือแปลกใหม่แต่ทั้งนี้ความคิดสร้างสรรค์ในแง่บวกเป็นสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะนิสัยมากกว่าวิธีคิด
ความคิดสร้างสรรค์แง่การกระทำที่ไม่ร้ายใคร คือ ใช้ในการคิดที่ไม่ทำร้ายใคร และการคิดที่ไม่ทำลายล้าง ก็เหมือนกับการคิดเชิงบวกมุ่งหมายเพื่อเสริมสร้างให้ดีขึ้น ตรงกันข้ามกับความคิดและการกระทำในเชิงลบที่มุ่งทำลาย
ความคิดสร้างสรรค์ในแง่การคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ คือ เป็นความหมายทั่วไปในภาษาอังกฤษ เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆที่แตกต่างจากเดิม และใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม เช่น กระติกน้ำร้อนที่ใช้สำรับเดิมทางมีทั้งระบบน้ำอุ่นและระบบน้ำเย็นในตัว ก็จะทำให้ความรู้สึกแปลกใหม่ ตานตา ตื่นใจ ไม่เคยเห็นจากที่มาก่อน
แต่ถ้ามองให้หลากหลายในแง่มุมต่างๆความคิดสร้างสรรค์
1.ต้องเป็นสิ่งใหม่ๆ ใหม่ล่าสุด แหวกล้อมสิ่งเดิมๆความคิดเดิมๆหรือเรียกว่า ความคิดต้นแบบ ชนิดแกะกล่อง หรือใหม่ถอดด้ามที่ไม่เคยคิดได้มาก่อน และได้ลอกเลียนแบบใคร แต่ถ้าเราพูดออกไปแต่มีคนพูดออกไปก่อนแล้วแต่เราไม่เคยรู้มาก่อนและไม่ได้ลอกเลียนความรู้ที่มีอยู่แล้วก็เป็นความคิดสร้างสรรค์ได้
2.ต้องใช้การได้ ความคิดสร้างสรรค์ไม่ได้หยุดเพียง จินตนาการ เพ้อฝัน แต่สามารถนำมาพุฒนาให้เป็นจริงและใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมตอบสนอกวัตถุประสงค์ของความคิดได้เป็นอย่างดี
3.ต้องมีความเหมาะสม แม้ว่าจะคิดใหม่แปลกใหม่ เป็นความคิดต้นแบบ แต้ต้องผสมผสานองค์ประกอบของความมีเหตุมีผลและคุณค่าภายใต้มาตรฐานที่ยอมรีบกันทั่วไป
ความคิดสร้างสรรค์เกิดจากการทำงานของสมองซีกขวาในส่วนของความคิดสร้างสรรค์(เกรียงศักดิ์) ได้กล่าวว่า สมองมีความสามารถในจินตนาการสามารถคิดแหวกวงล้อมออกไปอย่างไม่จำกัด เรียกได้ว่า จินตนาการ
สรุปคือ
1.ความคิดสร้างสรรค์เกิดจากการคิดของมนุษย์
2.มีความคิด และจินตนาการที่แปลกใหม่
3.แหวกวงล้อมและไม่ซ้ำแบบใครและเป็นการขยายขอบเขตออกไปให้กว้างกว่าเดิม
ประโยชน์
1.ทำให้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2.ทำให้เกิดความคิดที่ไม่มีขีดจำกัด
3.ทำให้แหวกแนวไม่ซ้ำแบบใคร
ถ้าคิดแง่บวก ความคิดสร้างสรรค์ก็คือ การพูดโดยไม่มีนัยที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่าง หรือแปลกใหม่แต่ทั้งนี้ความคิดสร้างสรรค์ในแง่บวกเป็นสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะนิสัยมากกว่าวิธีคิด
ความคิดสร้างสรรค์แง่การกระทำที่ไม่ร้ายใคร คือ ใช้ในการคิดที่ไม่ทำร้ายใคร และการคิดที่ไม่ทำลายล้าง ก็เหมือนกับการคิดเชิงบวกมุ่งหมายเพื่อเสริมสร้างให้ดีขึ้น ตรงกันข้ามกับความคิดและการกระทำในเชิงลบที่มุ่งทำลาย
ความคิดสร้างสรรค์ในแง่การคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ คือ เป็นความหมายทั่วไปในภาษาอังกฤษ เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆที่แตกต่างจากเดิม และใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม เช่น กระติกน้ำร้อนที่ใช้สำรับเดิมทางมีทั้งระบบน้ำอุ่นและระบบน้ำเย็นในตัว ก็จะทำให้ความรู้สึกแปลกใหม่ ตานตา ตื่นใจ ไม่เคยเห็นจากที่มาก่อน
แต่ถ้ามองให้หลากหลายในแง่มุมต่างๆความคิดสร้างสรรค์
1.ต้องเป็นสิ่งใหม่ๆ ใหม่ล่าสุด แหวกล้อมสิ่งเดิมๆความคิดเดิมๆหรือเรียกว่า ความคิดต้นแบบ ชนิดแกะกล่อง หรือใหม่ถอดด้ามที่ไม่เคยคิดได้มาก่อน และได้ลอกเลียนแบบใคร แต่ถ้าเราพูดออกไปแต่มีคนพูดออกไปก่อนแล้วแต่เราไม่เคยรู้มาก่อนและไม่ได้ลอกเลียนความรู้ที่มีอยู่แล้วก็เป็นความคิดสร้างสรรค์ได้
2.ต้องใช้การได้ ความคิดสร้างสรรค์ไม่ได้หยุดเพียง จินตนาการ เพ้อฝัน แต่สามารถนำมาพุฒนาให้เป็นจริงและใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมตอบสนอกวัตถุประสงค์ของความคิดได้เป็นอย่างดี
3.ต้องมีความเหมาะสม แม้ว่าจะคิดใหม่แปลกใหม่ เป็นความคิดต้นแบบ แต้ต้องผสมผสานองค์ประกอบของความมีเหตุมีผลและคุณค่าภายใต้มาตรฐานที่ยอมรีบกันทั่วไป
ความคิดสร้างสรรค์เกิดจากการทำงานของสมองซีกขวาในส่วนของความคิดสร้างสรรค์(เกรียงศักดิ์) ได้กล่าวว่า สมองมีความสามารถในจินตนาการสามารถคิดแหวกวงล้อมออกไปอย่างไม่จำกัด เรียกได้ว่า จินตนาการ
สรุปคือ
1.ความคิดสร้างสรรค์เกิดจากการคิดของมนุษย์
2.มีความคิด และจินตนาการที่แปลกใหม่
3.แหวกวงล้อมและไม่ซ้ำแบบใครและเป็นการขยายขอบเขตออกไปให้กว้างกว่าเดิม
ประโยชน์
1.ทำให้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2.ทำให้เกิดความคิดที่ไม่มีขีดจำกัด
3.ทำให้แหวกแนวไม่ซ้ำแบบใคร
วันพฤหัสบดีที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2553
หุ่นยนต์แมวน้ำดูแลเด็ก
สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูงของญี่ปุ่น สร้างหุ่นยนต์ขนปุยสีขาวเหมือนแมวน้ำ ชื่อ ปาโระ สำหรับดูแลเด็กป่วยในโรงพยาบาล ในงานคอมเด็กซ์ ซึ่งจัดขึ้นที่นครลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา หุ่นยนต์แมวน้ำชื่อ ปาโระ ได้รับรางวัลรางวัลเบสท์ออฟคอมเด็กซ์ จากผลงานที่ได้รับรางวัลทั้งหมด 10 รางวัล ทาคาโนริ ชิปาตะ วิศวกร ผู้สร้างหุ่นยนต์ปาโระ กล่าวว่า ปาโระยังเป็นหุ่นยนต์ต้นแบบ ซึ่งผ่านการทดสอบประสิทธิภาพในสถานเลี้ยงเด็กในญี่ปุ่นและสวีเดน เพื่อให้ดูแลและสร้างความบันเทิงให้แก่เด็ก ๆ ที่มีปัญหาสุขภาพ สำหรับหุ่นยนต์ปาโระนั้น บริเวณใบหน้าได้รับการติดตั้งเซ็นเซอร์เพื่อให้เคลื่อนไหวร่างกายและตอบโต้กับมนุษย์ได้ จากการทดลองพบว่า ผู้ป่วยและเด็ก ๆ ในโรงพยาบาลและสถานเลี้ยงเด็กชอบพูดคุยกับหุ่นยนต์ ซึ่งส่งผลดีต่อการรักษาพยาบาล และใน เร็ว ๆ นี้ ปาโระถูกนำมาทดสอบที่โรงพยาบาลเด็กในสหรัฐอเมริกา ส่วนราคาขายคาดว่า จะอยู่ประมาณ 2,500-3,000 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 90,000-120,000 บาทของไทย
แนวคิดของหุ่นยนต์บำบัด
หุ่นยนต์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ดึงดูดและกระตุ้นความสนใจจากเด็กๆ ทั่วไปรวมทั้งกลุ่มเด็กออทิสติกด้วย หลายหน่วยงานวิจัยจึงริเริ่มทดลองนำหุ่นยนต์มาเป็นตัวสื่อปฏิสัมพันธ์กับเด็กที่มีอาการผิดปกติ หลายคนเชื่อว่าหุ่นยนต์ของเล่นให้ความเป็นกันเองและความอุ่นใจต่อเด็กๆ มากกว่าผู้ใหญ่รอบข้างเสียอีก
คุณลักษณะที่มีความจำเป็นในการพัฒนาหุ่นยนต์ที่มีความเหมาะสมกับการใช้งานในเด็กพิเศษ สามารถแบ่งได้ดังนี้
1) ความน่าสนใจ หุ่นยนต์ควรมีความน่าสนใจ มีลูกเล่นหลายๆ อย่าง ได้แก่ ระบบแสง สี เสียง การเคลื่อนไหว การตอบสนอง การควบคุม พบว่าเด็กให้ความสนใจต่อพฤติกรรมของหุ่นยนต์มากกว่ามนุษย์
2) ความคงทนและแข็งแรง เนื่องจากอาจมีพฤติกรรมของเด็กที่ก้าวร้าว อารมณ์รุนแรง ทุบตีตนเองหรือผู้อื่น พบว่าเด็กมีการทุบตี ขว้างปา ดึง หุ่นยนต์ จึงทำให้เกิดความเสียหายขึ้นได้
3) มีการตอบสนองต่อสัมผัส เสียง แสง และการเคลื่อนไหว ซึ่งสามารถแบ่งได้ ดังนี้
การสัมผัสเป็นสิ่งสำคัญในการเล่นและการเรียนรู้ของเด็ก ควรติดตั้ง Touch Sensors เพื่อให้หุ่นยนต์ตอบสนองต่อลักษณะการสัมผัสได้อย่างถูกต้อง และเป็นธรรมชาติ
เสียงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งในการเรียนรู้ของเด็ก เป็นสิ่งที่สื่อถึงอารมณ์ของเด็ก การติดตั้งระบบรู้จำเสียงและระบบตอบสนองต่อเสียง หุ่นยนต์จะสามารถหันตามเสียง รวมทั้งเป็นตัวรับคำสั่งเสียงจากผู้ใช้ และแสดงพฤติกรรมตามคำสั่งของผู้ใช้ได้
หุ่นยนต์ที่มีระบบการรับรู้แสง จะช่วยให้รับรู้เวลา กลางวัน หรือกลางคืน ช่วยให้แสดงพฤติกรรมได้สัมพันธ์กับสถานการณ์ และเวลา เป็นธรรมชาติมากที่สุด
การเคลื่อนไหวเป็นส่วนสำคัญของหุ่นยนต์ พบว่าเด็กจะเลียนแบบพฤติกรรมของหุ่นยนต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเคลื่อนไหว ดังนั้นหุ่นยนต์บำบัดจึงควรมีระบบการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องตามสรีระ
4) น้ำหนักและขนาด เป็นสิ่งสำคัญเช่นกัน หุ่นยนต์ขนาดใหญ่มากจะเป็นอุปสรรคต่อการเล่นของเด็ก รวมถึงนำหนักที่มากยังส่งผลให้เด็กไม่สามารถอุ้มเล่นได้ ซึ่งหากเด็กเล่นหุ่นยนต์ได้ลำบาก จะเกิดความคับข้องใจขึ้น จนอาจส่งผลถึงช่วงความสนใจของเด็ก
5) การควบคุม ควรใช้งานง่าย มีการติดตั้งสวิตซ์ควบคุมที่ตัวหุ่นยนต์ หรือต่อสวิตซ์ออกมาภายนอกเป็นสวิตซ์เดี่ยว เพื่อให้เด็กสามารถกดควบคุมการทำงานได้ง่าย ซึ่งจะส่งผลกระตุ้นให้เด็กมีช่วงความสนใจในการเล่นกับหุ่นยนต์เพิ่มขึ้น เนื่องจากผู้เล่นสามารถควบคุมหุ่นยนต์ได้ตามที่ต้องการ
ประโยชน์ของหุ่นยนต์บำบัด
1) เพื่อช่วยดูแล ทำกายภาพบำบัด ในผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต สมองพิการ
2) เพื่อกระตุ้นความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม และกระตุ้นประสาทสัมผัสในผู้ป่วยออทิสติก ถึงแม้เด็กจะไม่ได้สนใจหุ่นยนต์ตลอดเวลา แต่มีข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่าพวกเขาชอบพวกสิ่งของกลไกที่ทำอะไรซ้ำไปซ้ำมา
3) เพื่อกระตุ้นความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มกิจกรรมการเคลื่อนไหวในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
รูปหุ่นยนต์แมวน้ำ Paro
เอกสารอ้างอิง
จักรพงษ์ พิพิธภักดี. หุ่นยนต์แมวน้ำบำบัดเด็กออทิสติก. [Online] 2006; Available from: URL: http://www1.stkc.go.th [Accessed: 2006, Dec 17]
แนวคิดของหุ่นยนต์บำบัด
หุ่นยนต์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ดึงดูดและกระตุ้นความสนใจจากเด็กๆ ทั่วไปรวมทั้งกลุ่มเด็กออทิสติกด้วย หลายหน่วยงานวิจัยจึงริเริ่มทดลองนำหุ่นยนต์มาเป็นตัวสื่อปฏิสัมพันธ์กับเด็กที่มีอาการผิดปกติ หลายคนเชื่อว่าหุ่นยนต์ของเล่นให้ความเป็นกันเองและความอุ่นใจต่อเด็กๆ มากกว่าผู้ใหญ่รอบข้างเสียอีก
คุณลักษณะที่มีความจำเป็นในการพัฒนาหุ่นยนต์ที่มีความเหมาะสมกับการใช้งานในเด็กพิเศษ สามารถแบ่งได้ดังนี้
1) ความน่าสนใจ หุ่นยนต์ควรมีความน่าสนใจ มีลูกเล่นหลายๆ อย่าง ได้แก่ ระบบแสง สี เสียง การเคลื่อนไหว การตอบสนอง การควบคุม พบว่าเด็กให้ความสนใจต่อพฤติกรรมของหุ่นยนต์มากกว่ามนุษย์
2) ความคงทนและแข็งแรง เนื่องจากอาจมีพฤติกรรมของเด็กที่ก้าวร้าว อารมณ์รุนแรง ทุบตีตนเองหรือผู้อื่น พบว่าเด็กมีการทุบตี ขว้างปา ดึง หุ่นยนต์ จึงทำให้เกิดความเสียหายขึ้นได้
3) มีการตอบสนองต่อสัมผัส เสียง แสง และการเคลื่อนไหว ซึ่งสามารถแบ่งได้ ดังนี้
การสัมผัสเป็นสิ่งสำคัญในการเล่นและการเรียนรู้ของเด็ก ควรติดตั้ง Touch Sensors เพื่อให้หุ่นยนต์ตอบสนองต่อลักษณะการสัมผัสได้อย่างถูกต้อง และเป็นธรรมชาติ
เสียงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งในการเรียนรู้ของเด็ก เป็นสิ่งที่สื่อถึงอารมณ์ของเด็ก การติดตั้งระบบรู้จำเสียงและระบบตอบสนองต่อเสียง หุ่นยนต์จะสามารถหันตามเสียง รวมทั้งเป็นตัวรับคำสั่งเสียงจากผู้ใช้ และแสดงพฤติกรรมตามคำสั่งของผู้ใช้ได้
หุ่นยนต์ที่มีระบบการรับรู้แสง จะช่วยให้รับรู้เวลา กลางวัน หรือกลางคืน ช่วยให้แสดงพฤติกรรมได้สัมพันธ์กับสถานการณ์ และเวลา เป็นธรรมชาติมากที่สุด
การเคลื่อนไหวเป็นส่วนสำคัญของหุ่นยนต์ พบว่าเด็กจะเลียนแบบพฤติกรรมของหุ่นยนต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเคลื่อนไหว ดังนั้นหุ่นยนต์บำบัดจึงควรมีระบบการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องตามสรีระ
4) น้ำหนักและขนาด เป็นสิ่งสำคัญเช่นกัน หุ่นยนต์ขนาดใหญ่มากจะเป็นอุปสรรคต่อการเล่นของเด็ก รวมถึงนำหนักที่มากยังส่งผลให้เด็กไม่สามารถอุ้มเล่นได้ ซึ่งหากเด็กเล่นหุ่นยนต์ได้ลำบาก จะเกิดความคับข้องใจขึ้น จนอาจส่งผลถึงช่วงความสนใจของเด็ก
5) การควบคุม ควรใช้งานง่าย มีการติดตั้งสวิตซ์ควบคุมที่ตัวหุ่นยนต์ หรือต่อสวิตซ์ออกมาภายนอกเป็นสวิตซ์เดี่ยว เพื่อให้เด็กสามารถกดควบคุมการทำงานได้ง่าย ซึ่งจะส่งผลกระตุ้นให้เด็กมีช่วงความสนใจในการเล่นกับหุ่นยนต์เพิ่มขึ้น เนื่องจากผู้เล่นสามารถควบคุมหุ่นยนต์ได้ตามที่ต้องการ
ประโยชน์ของหุ่นยนต์บำบัด
1) เพื่อช่วยดูแล ทำกายภาพบำบัด ในผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต สมองพิการ
2) เพื่อกระตุ้นความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม และกระตุ้นประสาทสัมผัสในผู้ป่วยออทิสติก ถึงแม้เด็กจะไม่ได้สนใจหุ่นยนต์ตลอดเวลา แต่มีข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่าพวกเขาชอบพวกสิ่งของกลไกที่ทำอะไรซ้ำไปซ้ำมา
3) เพื่อกระตุ้นความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มกิจกรรมการเคลื่อนไหวในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
รูปหุ่นยนต์แมวน้ำ Paro
เอกสารอ้างอิง
จักรพงษ์ พิพิธภักดี. หุ่นยนต์แมวน้ำบำบัดเด็กออทิสติก. [Online] 2006; Available from: URL: http://www1.stkc.go.th [Accessed: 2006, Dec 17]
วันพฤหัสบดีที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)